กำจัดตัวมวนง่ามในนาข้าว

กำจัดตัวมวนง่าม ในนาข้าว

  • มวนง่าม (stink bug)
  • ชื่อวิทยาศาสตร์ : Tetroda denticulifera (Berg)
  • วงศ์ : Pentatomidae  อันดับ: Hemiptera
  • ชื่อสามัญอื่น : มวนสามง่าม , แมงแครง มวนง่าม มีวงจรชีวิต 3 ระยะ คือ ระยะไข่ ระยะตัวอ่อน
  • และระยะตัวเต็มวัย ระยะไข่นาน  6-8 วัน ระยะก่อนวางไข่นาน 35-43 วัน วางไข่ประมาณ  8-11 ครั้ง เพศเมียวางไข่เป็นแถว ตามแนวใบข้าวประมาณ  150-200 ฟองต่อตัว
มวนง่ามวางไข่

พืชมีปัญหาปรึกษาคลินิกพืชคูลเกษตรทันทีได้ที่

ไข่ฟักออกเป็นตัวอ่อนเฉลียร้อยละ 89-94 ระยะตัวอ่อนนาน  60-66 วัน ตัวอ่อนมี 5 ระยะตัวเต็มวัยเพศผู้นาน  90-120 วันและเพศเมียนาน 70-125 วันตัวอ่อนวัยแรกมี ลักษณะลำตัวกลมป้อม ส่วนบนนนู โค้งคล้ายด้วงเต่า มีลวดลายเป็นจุดสี ดำ 4 จุด

  • ลำตัวสีเหลืองอ่อน หนวด ตา และขาสีดำ เมื่อเขาสู้วัยร่างจะเปลี่ยนเป็นแบนราบ ขอบรอบลำตัว มีลักษณะปลาย ไข่และตัวอ่อนวัยแรก ตัวอ่อนวัยทที่  2-3 ศัตรูข้าว และการป้องกันกำจัด แหลมหยิกซักแซก  และมหนามแหลมเป็นง่าม ยืนออกมาทที่ส่วนหัว
  • และอกปล้องแรก สีของลำตัวจะเปลี่ยนเป็นสีครีม ตัวเต็มวัย เพศผู้มีลักษณะลำตัวแบนสีเทาดำ ส่วนหัวยืนออกไปเป็นง่ามปลายแหลม 2 ง่าม อกปล้องแรกมีง่ามแหลมยื่ออกไป
  • ทางดานหน้าทั้งสองข้าง ขา หนวด และตาสีดำ แผ่นปิดด้านบนส่วนอก สีเทาดำ ปีกเป็นสีเดียวกับลำตัวปลาย ปีกสีขาว ขอบด้านข้างลำตัวส่วนท้อง มีสีส้ม ลำตัวยาว ประมาณ 1.6 เซนติเมตร  กว้าง 0.7 เซนติเมตร  ตัวเต็มวัยเพศ 

ลักษณะการทำลาย  มวนง่าม  ระยะการเจริญเติบโตสามารถทำลายข้าว โดยใช้อว้ยวะส่วนปาก (stylet) เจาะลงไปในใบและลำต้นข้าวแล้วดูดกินน้ำเลี้ยงจากส่วนต่างๆ  ของต้นข้าว ทำให้ ลำต้นและใบ เหี่ยว และแห้งตาย  พบการระบาดทำลายในฤดู  นาปรังรันแรงกว่าในฤดู  นาปี และความเสียหายจะพบมากในระยะกล้าและหลงปักดำ เป็นแมลงศัตรู ข้าวที่ พบเฉพาะในภาคตะวันออก เฉียงเหนือ

คลินิกพืชคูลเกษตรแนะนำ การป้องกันกำจัด

  1.  เก็บกลมไข่ทำลาย 
  2.  ใช้สวิงโฉบจับตัวอ่อนและตัวเต็มวัยไปทำลาย  
  3.  ใช้สารชีดพ่น ไซมอกซานิล+แมนโคแซบ 
  • ชื่อสามัญ:ไซมอกซานิล+ เมนโคเซบ 100กรัม
    คุณสมบัติและ ประโยชน์ ใช้ป้องกันกำจัดโรคน้ำค้างในแตงกวา ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา สารป้องกันกำจัดเชื้อรา สารcymoxanil เป็นสารประเภทดูดซึม สาร mancozeb เป็นสารประเภทไม่ดูดซึม ใช้ป้องกันกำจัดเชื้อราในกลุ่ม ไฟทอบธอรา เช่น โรคไหม้ในมันฝรั่ง โรคใบจุดในผักตระกูลกะหล่ำ โรคราน้ำค้างในตระกูลแตงกวา โรครากเน่า โคนเน่าในทุเรียน
  • อัตราและวิธีการใช้ ใช้อัตรา 10-30 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร พ่นให้ทั่วเมื่อพบการระบาดของโรค และพ่นซ้ำทุก 7 วัน

ซื้อออนไลน์ ห่างไกลโควิด ส่งไว ส่งฟรี ยินดีให้บริการ มีบริการเก็บเงินปลายทาง

ช่องทางการสั่งซื้อและขอคำปรึกษา จัดการได้ทันที สอบถามได้ที่

โทร. 095-237-1723

เข้ากลุ่มคนรักพืช เพื่อติดตามความรู้ใหม่ๆ สอบถามปัญหาพืช ได้ทุกวันที่นี่

ไลน์แอด @koolkaset คลิกที่นี่ 

สั่งซื้อโดยตรงทาง คลินิกพืชคูลเกษตร คลิกที่นี่ 

สั่งซื้อทาง ลาซาด้า คลิกที่นี่

สั่งซื้อทาง ช้อปปี้ คลิกที่นี่  

#คลินิกพืช #คลินิกพืชคูลเกษตร #คูลเกษตร #ที่ปรึกษาพืช #ออนไลน์ #ทั่วไทย #ที่ปรึกษาพืชออนไลน์ทั่วไทย #KoolKaset #พืช #เกษตร #แมลง #หนอน #เพลี้ย #ปุ๋ย #กำจัดหญ้า #กำจัดแมลง #ศัตรูพืช #วัชพืช #โรคพืช #ต้นไม้ #เพลี้ยไฟ #เพลี้ยจั๊กจั่น #เพลี้ยอ่อน #แมลงหวี่ขาว #หญ้า #ไร #ผลไม้ #ไม้ดอก #ข้าว #ข้าวโพด #ลำไย #มะม่วง #ข้าวโพด #มันสำปะหลัง #มันเทศ #กัญชา #กระท่อม #ทุเรียน #พริก #มะเขือ #มะนาว #ถั่วฝักยาว #ถั่วพลู #ถั่วเขียว #ถั่วเหลือง #ถั่วดำ #กล้วย #กล้วยหอม #สัปปะรด #มะพร้าว #อินทผาลัม #ผักกาด #กะหล่ำปลี #กะหล่ำดอก #โหระพา #กะเพรา #สะระแหน่ #บวบ #ฟักทอง #แตงโม #แตงกวา #แตงร้าน #แตงไทย #มะระ #น้ำเต้า #กระเจี๊ยบ #แอปเปิ้ล #สตรอเบอรี่ #มะละกอ #มะขาม #มะขามเทศ #เห็ด #ถั่วแขก #หน่อไม้ฝรั่ง #แครอท #หัวไช้เท้า #เผือก #มันเทศ #ชา #กาแฟ #มะกรูด #ตะไคร้ #ส้มเขียวหวาน #ส้ม #ส้มโอ #ฟัก #แฟง #แตง #ลิ้นจี้ #ลองกอง #พุทรา #ขนุน #แก้วมังกร #คะน้า #กวางตุ้ง #ผักชี #ผักชีฝรั่ง #ผักชีลาว #แคนตาลูป #มะเขือพวง #มะเขือเปราะ #มะเขือยาว #มะเขือม่วง #โคโลคาเซีย #ไทรเกาหลี #กุหลาบ #ดาวเรือง #มะลิ #เบญจมาศ #สร้อยทอง #องุ่น #สาลี่ #ฝรั่ง #มะยงชิด

อ้างอิง

  • http://library.ricethailand.go.th
  • https://today.line.me/th
  • http://www.pmc07.doae.go.th

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *