เตือนภัยการระบาดหนอนห่อใบข้าว

เตือนภัยการระบาด หนอนห่อใบข้าว แต่ละปีเป็นปีที่มีภัยธรรมชาติรุมเร้าพี้น้องเกษตรกรอย่างต่อเนื่อง ฤดูร้อนที่ผ่านมามีอากาศที่ร้อนอบอ้าวมากและเป็นช่วง ที่อากาศร้อนยาวนาน พอเข้าสู่ฤดูฝน ฝนก็ตกต่อเนื่องตลอด จึงทำให้ปีนี้สภาพอากาศเหมาะสมต่อการแพร่ระบาด ของศัตรูพืชหลายชนิด เช่น โรคไหม้ข้าว หนอนห่อใบข้าว เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล โดยเฉพาะขณะนี้มีพื้นที่หลายจังหวัด ประสบปัญหาการระบาดของหนอนห่อใบข้าวเป็นจำนวนมาก ฉบับนี้จึงขอแนะนำให้รู้จักกับหนอนห่อใบข้าว และวิธี การควบคุม เพื่อจะได้ป้องกันกำจัดได้อย่างถูกต้องต่อไป

หนอนห่อใบข้าว

รูปร่างลักษณะและชีวประวัติ ตัวเต็มวัยหนอนห่อใบข้าวเป็นผีเสื้อกลางคืน มีสีน้ำตาลเหลือง ขณะเกาะอยู่เห็นเป็นรูป สามเหลี่ยมด้านเท่า เพศผู้มีขนาดเล็กกว่าตัวเมียเล็กน้อย มีปุยขนหนาสีดำบริเวณกึ่งกลางเส้นขอบปีก ทำการผสมพันธุ์ และวางไข่เวลากลางคืน วางไข่บริเวณเส้นกลางใบประมาณ 10-12 ฟอง เพศเมียวางไข่ได้ประมาณ 300 ฟอง หนอนจะอยู่เพียงตัวเดียวในใบที่ห่ออยู่และกัดแทะเนื้อเยื่อที่ผิวใบ หนอนตัวหนึ่งกัดกินใบข้าวได้ 3-4 ใบ หนอนมีสีเขียว แถบเหลือง หัวสีน้ำตาลเข้ม แล้วหนอนจะเข้าดักแด้บริเวณใบและโคนต้นข้าว

พืชมีปัญหาปรึกษาคลินิกพืชคูลเกษตรทันทีได้ที่

การแพร่กระจายและความเสียหาย หนอนห่อใบข้าวแพร่ระบาดอยู่ทั่วไป และจะระบาดมากขึ้นในพื้นที่ที่ปลูกข้าว 2 ฤดู ทั้งฤดูนาปรัง และนาปี และมีการใช้ปุ๋ยเคมีมาก สามารถระบาดได้ทุกสภาพแวดล้อมแต่จะระบาดมากในช่วงฤดูฝน หนอนห่อใบข้าว จะกัดแทะเนื้อเยื่อผิวใบอยู่ในใบข้าวที่ห่ออยู่ ทำให้เห็นเป็นรอยสีขาวเป็นทางยาวบนใบข้าว ใบข้าวแต่ละใบอาจพบรอย กัดกินหลายรอย ต้นข้าวแต่ละต้นอาจพบใบห่อหลายใบ ใบที่ถูกทำลายรุนแรงจะแห้ง แปลงที่ถูกทำลายมาก ใบข้าวอาจ มีอาการแห้งไหม้คล้ายถูกแดดเผา ผลผลิตอาจเสียหายหากใบธงถูกหนอนห่อใบทำลาย

แนวทางการป้องกันกำจัด

  1. การระบาดของหนอนห่อใบข้าวจะรุนแรงในแปลงที่มีการใส่ปุ๋ยไนโตรเจนสูง ๆ จึงควรแบ่งใส่ปุ๋ยหลายครั้ง และลดปริมาณลง หรือควรงดการใส่ปุ๋ยที่มีไนโตรเจนสูง ๆ ในขณะที่เริ่มพบการระบาดของหนอนห่อใบข้าว
  2. ต้นข้าวที่อยู่บริเวณร่มเงาของต้นไม้จะถูกทำลายมากกว่าบริเวณอื่น และควรมีการกำจัดวัชพืชบริเวณรอบแปลง เพื่อป้องกันการขยายพันธุ์ของหนอนห่อใบข้าวในพืชอาศัย
  3. หนอนห่อใบข้าวมีศัตรูธรรมชาติที่คอยควบคุมอยู่หลายชนิด หากพบหนอนห่อใบข้าวระบาดเพียงเล็กน้อย จึงไม่ควรใช้สารเคมีฉีดพ่น เพราะจะทำให้หนอนระบาดรุนแรงมากขึ้น
  4. การใช้สารเคมีชนิดเม็ดหว่านในนาข้าวไม่สามารถกำจัดหนอนห่อใบข้าวได้ ควรใช้สารเคมีฉีดพ่นจะได้ผลดีกว่า สารเคมีที่แนะนำ ชุดราบคาบ

ชุดหนอนราบคาบกลาง500ซีซี หนอนกระทู้ ดูดซึม กำจัดตัวแก่ ตัวอ่อน ไข่หนอน ในชุดเดียว 7-10 ไร่ คูลเกษตร 

  • ชื่อสามัญ: เดลทาเมทริน 3 % 500 ซีซี x1 
  • กำจัดแมลง เพลี้ยอ่อน หนอนกินใบ หนอนใยผัก หนอนเจาะ ด้วงงวง
  • คุณสมบัติ:
  • สารไพรีทรอยด์ ที่มีความบริสุทธิ์ของสารออกฤทธิ์สูง
  • ออกฤทธิ์เฉียบพลันทั้งถูกตัวตาย และกินตาย กำจัดเพลี้ยและหนอนได้หลายชนิด
  • สลายตัวได้ง่ายจึงไม่มีพิษตกค้างในสิ่งแวดล้อม
  • ไม่เป็นอันตรายต่อปลา แต่เป็นอันตรายต่อปูและกุ้ง
  • คำเตือน: ห้ามใช้ในระยะที่พืชมีดอกบาน*****
  • ใช้ในการกำจัดหนอนเจาะฝักถั่วในถั่วฝักยาว พืชตระกูลกะหล่ำ มะเขือเทศ หนอนเจาะสมอฝ้าย หนอนม้วนใบฝ้ายหนอนคืบกินใบฝ้าย หนอนกระทู้ผัก หนอนเจาะ เพลี้ยไฟ ใช้ได้กับทุกพืช
  • อัตราการใช้ 20-30 cc ต่อน้ำ 20 ลิตร
  • ขนาดบรรจุ: 100 ซีซี
  • ชื่อสามัญ: อิมา+ลูเฟ 100 กรัม x2
  • กำจัด หนอนม้วนใบ หนอนใย หนอนเจาะ หนอนข้าวโพด พร้อมสารคุมไข่
  • ประโยชน์:     กำจัดแมลงศัตรูพืชจำพวกเพลี้ย หนอน โดยเฉพาะหนอนดื้อยา
  • เหมาะสำหรับ:   พืชผัก พืชไร่
  • กำจัดแมลง:    เพลี้ยจักจั่นฝ้าย เพลี้ยไฟ หนอนเจาะสมอฝ้าย หนอนเจาะผลมะเขือ หนอนกระทู้
  • อัตราการใช้:   20กรัม  ต่อน้ำ 20 ลิตร
  • ขนาดบรรจุ 100 กรัม

ซื้อออนไลน์ ห่างไกลโควิด ส่งไว ส่งฟรี ยินดีให้บริการ มีบริการเก็บเงินปลายทาง

ช่องทางการสั่งซื้อและขอคำปรึกษา จัดการได้ทันที สอบถามได้ที่

โทร. 095-237-1723

เข้ากลุ่มคนรักพืช เพื่อติดตามความรู้ใหม่ๆ สอบถามปัญหาพืช ได้ทุกวันที่นี่

ไลน์แอด @koolkaset คลิกที่นี่ 

สั่งซื้อโดยตรงทาง คลินิกพืชคูลเกษตร คลิกที่นี่ 

สั่งซื้อทาง ลาซาด้า คลิกที่นี่

สั่งซื้อทาง ช้อปปี้ คลิกที่นี่  

#คลินิกพืช #คลินิกพืชคูลเกษตร #คูลเกษตร #ที่ปรึกษาพืช #ออนไลน์ #ทั่วไทย #ที่ปรึกษาพืชออนไลน์ทั่วไทย #KoolKaset #พืช #เกษตร #แมลง #หนอน #เพลี้ย #ปุ๋ย #กำจัดหญ้า #กำจัดแมลง #ศัตรูพืช #วัชพืช #โรคพืช #ต้นไม้ #เพลี้ยไฟ #เพลี้ยจั๊กจั่น #เพลี้ยอ่อน #แมลงหวี่ขาว #หญ้า #ไร #ผลไม้ #ไม้ดอก #ข้าว #ข้าวโพด #ลำไย #มะม่วง #ข้าวโพด #มันสำปะหลัง #มันเทศ #กัญชา #กระท่อม #ทุเรียน #พริก #มะเขือ #มะนาว #ถั่วฝักยาว #ถั่วพลู #ถั่วเขียว #ถั่วเหลือง #ถั่วดำ #กล้วย #กล้วยหอม #สัปปะรด #มะพร้าว #อินทผาลัม #ผักกาด #กะหล่ำปลี #กะหล่ำดอก #โหระพา #กะเพรา #สะระแหน่ #บวบ #ฟักทอง #แตงโม #แตงกวา #แตงร้าน #แตงไทย #มะระ #น้ำเต้า #กระเจี๊ยบ #แอปเปิ้ล #สตรอเบอรี่ #มะละกอ #มะขาม #มะขามเทศ #เห็ด #ถั่วแขก #หน่อไม้ฝรั่ง #แครอท #หัวไช้เท้า #เผือก #มันเทศ #ชา #กาแฟ #มะกรูด #ตะไคร้ #ส้มเขียวหวาน #ส้ม #ส้มโอ #ฟัก #แฟง #แตง #ลิ้นจี้ #ลองกอง #พุทรา #ขนุน #แก้วมังกร #คะน้า #กวางตุ้ง #ผักชี #ผักชีฝรั่ง #ผักชีลาว #แคนตาลูป #มะเขือพวง #มะเขือเปราะ #มะเขือยาว #มะเขือม่วง #โคโลคาเซีย #ไทรเกาหลี #กุหลาบ #ดาวเรือง #มะลิ #เบญจมาศ #สร้อยทอง #องุ่น #สาลี่ #ฝรั่ง #มะยงชิด

#คลินิกพืช #คลินิกพืชคูลเกษตร #คูลเกษตร #ที่ปรึกษาพืช #ออนไลน์ #ทั่วไทย #ที่ปรึกษาพืชออนไลน์ทั่วไทย #KoolKaset #พืช #เกษตร #แมลง #หนอน #เพลี้ย #ปุ๋ย #กำจัดหญ้า #กำจัดแมลง #ศัตรูพืช #วัชพืช #โรคพืช #ต้นไม้ #เพลี้ยไฟ #เพลี้ยจั๊กจั่น #เพลี้ยอ่อน #แมลงหวี่ขาว #หญ้า #ไร #ผลไม้ #ไม้ดอก #ข้าว #ข้าวโพด #ลำไย #มะม่วง #ข้าวโพด #มันสำปะหลัง #มันเทศ #กัญชา #กระท่อม #ทุเรียน #พริก #มะเขือ #มะนาว #ถั่วฝักยาว #ถั่วพลู #ถั่วเขียว #ถั่วเหลือง #ถั่วดำ #กล้วย #กล้วยหอม

อ้างอิง

  • http://www.pmc04.doae.go.th
  • https://thainews.prd.go.th
  • https://www.kasetkaoklai.com
  • https://www.unilife.co.th

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *