เก๋ากี้ หรือ โกจิเบอร์รี่ ประโยชน์สุขภาพและข้อควรระวัง

เก๋ากี้ หรือ โกจิเบอร์รี่ เป็นสมุนไพรอย่างหนึ่งของจีนที่มีลักษณะเป็นผลเล็ก ๆ สีแดงหรือสีส้ม รสชาติหวานอมเปรี้ยว นิยมใช้เป็นส่วนหนึ่งของเครื่องยาจีนเพื่อประกอบอาหาร เก๋ากี้อาจมีประโยชน์ต่อสุขภาพมากมาย ทั้งช่วยเสริมสร้างภูมิคุ้มกันของร่างกาย ดีต่อสุขภาพผิว และช่วยควบคุมน้ำตาลในเลือด อย่างไรก็ตาม ควรรับประทานในปริมาณที่เหมาะสมตามคำแนะนำของคลินิกพืชคูลเกษตร เพื่อป้องกันอันตรายต่อสุขภาพ

เก๋ากี้ หรือโกจิเบอร์รี่ เป็นสมุนไพรโบราณมีถิ่นกำเนิดอยู่ในประเทศจีน และทั่วทั้งแถบทวีปเอเชีย เชื่อกันมาแต่โบราณว่าเก๋ากี้เป็นผลไม้ที่ช่วยให้มีอายุยืนยาวขึ้น และอาจช่วยรักษาปัญหาทางด้านสุขภาพเกี่ยวกับโรคเบาหวาน ความดันโลหิต สายตาพร่ามัว ไข้หวัด ได้อีกด้วย

ลักษณะเป็นผลสีส้ม หรือสีแดง ผลขนาดเล็ก รสชาติหวานอมเปรี้ยว แต่นอกจากผลสด ๆ จากต้นแล้ว ปัจจุบันนิยมบริโภคเก๋ากี้ในรูปแบบอบแห้ง เพื่อให้ง่ายต่อการนำมาปรุงอาหาร หรือใช้เป็นเครื่องดื่มได้ด้วย

พืชมีปัญหาปรึกษาคลินิกพืชคูลเกษตรทันทีได้ที่

  • ประโยชน์ของ เก๋ากี้ ต่อสุขภาพ เก๋ากี้ประกอบด้วยวิตามิน และแร่ธาตุมากมาย เช่น วิตามินซี วิตามินเอ ไฟเบอร์ ธาตุเหล็ก ที่อาจช่วยส่งเสริมและบำรุงสุขภาพร่างกายให้แข็งแรงขึ้น ดังนี้
  • อาจช่วยเพิ่มภูมิคุ้มกันให้แก่ร่างกาย เก๋ากี้อุดมไปด้วยสารต้านอนุมูลอิสระ วิตามินเอ และวิตามินซี ซึ่งมีหน้าที่สำคัญในกระบวนการสร้างภูมิคุ้มกัน ป้องกันอาการเจ็บป่วยและโรคเรื้อรัง เช่น ไข้หวัด โรคมะเร็ง การบริโภคเก๋ากี้เป็นประจำจึงอาจมีส่วนช่วยป้องกันไข้หวัดและอาการเจ็บป่วยอื่น ๆ ได้
  • อาจช่วยบำรุงสุขภาพผิวหนัง เก๋ากี้มีเบต้า-แคโรทีน และสารซีแซนทิน  ที่มีคุณสมบัติต้านอนุมูลอิสระ ช่วยส่งเสริมให้ผิวมีสุขภาพที่ดีขึ้น ลดการระคายเคือง และลดริ้วรอยจากการถูกแสงแดดเผาไหม้ รวมทั้งปกป้องผิวหนังจากมะเร็งผิวหนังบางชนิด
  • อาจช่วยป้องกันโรคมะเร็ง วิตามินซี ซีแซนทิน และ แคโรทีนอยด์ ในเก๋ากี้มีส่วนช่วยในการชะลอการเจริญเติบโตของเนื้องอก ต้านอนุมูลอิสระ และช่วยกำจัดสารเคมีที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพออกจากร่างกายได้
  • อาจช่วยควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด สารสกัดเก๋ากี้มีคุณสมบัติในการช่วยควบคุมน้ำตาลในเลือด ใช้เพื่อรักษาโรคมาอย่างยาวนาน การบริโภคเก๋ากี้อาจช่วยบรรเทาอาการเบาหวานในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ได้ โดยไม่เป็นพิษต่อตับและไต

ข้อควรระวังในการบริโภคเก๋ากี้ แม้เก๋ากี้จะมีประโยชน์ต่อร่างกาย แต่ควรบริโภคด้วยความระมัดระวัง ดังนี้

  • ควรบริโภคควบคู่ไปกับอาหารอื่น ๆ เพื่อให้ได้รับสารอาหารครบถ้วน เช่น โยเกิร์ต ข้าวโอ๊ต สมูทตี้ สลัด
  • หากรับประทานมากเกินไปอาจก่อให้เกิดผลข้างเคียงตามมาร่วมด้วยได้ เช่น อาการแพ้จากซัลไฟต์ หรือปัญหาที่เกี่ยวข้องกับระบบทางเดินอาหาร
  • ผู้ที่มีประวัติการใช้ยาลดความดันโลหิต ยารักษาโรคเบาหวาน ยาเจือจางเลือด ควรหลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่มีส่วนผสมของเก๋ากี้ เนื่องจากสารเคมีในเก๋ากี้อาจก่อให้เกิดปฏิกิริยาบางอย่างที่ถึงขั้นรุนแรงต่อสุขภาพตามมาภายหลังได้ ควรปรึกษาคลินิกพืชคูลเกษตร ก่อนบริโภค

ผลข้างเคียงจาก ชาโกจิเบอร์รี่ ที่คุณควรรู้ การรับประทานชาโกจิเบอร์รี่ อาจทำให้ผู้บริโภคบางคนเกิดการย่อยได้ยาก เนื่องจากเป็นผลไม้ที่ค่อนข้างมีไฟเบอร์ในตัวสูง และอาจทำให้เกิดการเป็นพิษต่อตับของเรา อีกทั้งยังเป็นผลไม้ที่ไม่เหมาะแก่ผู้ที่กำลังรับประทานยาที่เกี่ยวข้องกับยาลดความดัน ยารักษาโรคเบาหวาน และยาที่ค่อนข้างเชื่อมโยงไปยังระบบไหลเวียนของเลือด

ดังนั้น เพื่อความปลอดภัย โปรดตรวจสอบสุขภาพของตนเอง หรือเข้าขอรับคำปรึกษาจากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญก่อนเสมอว่า คุณสามารถรับประทานผลไม้ชนิดนี้ได้หรือไม่ เพราะหากผู้ป่วยท่านใดมีประวัติในการใช้ยาข้างต้นร่วมอยู่ ก็อาจทำให้เกิดข้างเคียงรุนแรงต่อสุขภาพร่างกายของเราตามมาภายหลังได้

ซื้อออนไลน์ ห่างไกลโควิด ส่งไว ส่งฟรี ยินดีให้บริการ มีบริการเก็บเงินปลายทาง

ช่องทางการสั่งซื้อและขอคำปรึกษา จัดการได้ทันที สอบถามได้ที่

โทร. 095-237-1723

เข้ากลุ่มคนรักพืช เพื่อติดตามความรู้ใหม่ๆ สอบถามปัญหาพืช ได้ทุกวันที่นี่

ไลน์แอด @koolkaset คลิกที่นี่ 

สั่งซื้อโดยตรงทาง คลินิกพืชคูลเกษตร คลิกที่นี่ 

สั่งซื้อทาง ลาซาด้า คลิกที่นี่

สั่งซื้อทาง ช้อปปี้ คลิกที่นี่  

#คลินิกพืช #คลินิกพืชคูลเกษตร #คูลเกษตร #ที่ปรึกษาพืช #ออนไลน์ #ทั่วไทย #ที่ปรึกษาพืชออนไลน์ทั่วไทย #KoolKaset #พืช #เกษตร #แมลง #หนอน #เพลี้ย #ปุ๋ย #กำจัดหญ้า #กำจัดแมลง #ศัตรูพืช #วัชพืช #โรคพืช #ต้นไม้ #เพลี้ยไฟ #เพลี้ยจั๊กจั่น #เพลี้ยอ่อน #แมลงหวี่ขาว #หญ้า #ไร #ผลไม้ #ไม้ดอก #ข้าว #ข้าวโพด #ลำไย #มะม่วง #ข้าวโพด #มันสำปะหลัง #มันเทศ #กัญชา #กระท่อม #ทุเรียน #พริก #มะเขือ #มะนาว #ถั่วฝักยาว #ถั่วพลู #ถั่วเขียว #ถั่วเหลือง #ถั่วดำ #กล้วย #กล้วยหอม #สัปปะรด #มะพร้าว #อินทผาลัม #ผักกาด #กะหล่ำปลี #กะหล่ำดอก #โหระพา #กะเพรา #สะระแหน่ #บวบ #ฟักทอง #แตงโม #แตงกวา #แตงร้าน #แตงไทย #มะระ #น้ำเต้า #กระเจี๊ยบ #แอปเปิ้ล #สตรอเบอรี่ #มะละกอ #มะขาม #มะขามเทศ #เห็ด #ถั่วแขก #หน่อไม้ฝรั่ง #แครอท #หัวไช้เท้า #เผือก #มันเทศ #ชา #กาแฟ #มะกรูด #ตะไคร้ #ส้มเขียวหวาน #ส้ม #ส้มโอ #ฟัก #แฟง #แตง #ลิ้นจี้ #ลองกอง #พุทรา #ขนุน #แก้วมังกร #คะน้า #กวางตุ้ง #ผักชี #ผักชีฝรั่ง #ผักชีลาว #แคนตาลูป #มะเขือพวง #มะเขือเปราะ #มะเขือยาว #มะเขือม่วง #โคโลคาเซีย #ไทรเกาหลี #กุหลาบ #ดาวเรือง #มะลิ #เบญจมาศ #สร้อยทอง #องุ่น #สาลี่ #ฝรั่ง #มะยงชิด

#คลินิกพืช #คลินิกพืชคูลเกษตร #คูลเกษตร #ที่ปรึกษาพืช #ออนไลน์ #ทั่วไทย #ที่ปรึกษาพืชออนไลน์ทั่วไทย #KoolKaset #พืช #เกษตร #แมลง #หนอน #เพลี้ย #ปุ๋ย #กำจัดหญ้า #กำจัดแมลง #ศัตรูพืช #วัชพืช #โรคพืช #ต้นไม้ #เพลี้ยไฟ #เพลี้ยจั๊กจั่น #เพลี้ยอ่อน #แมลงหวี่ขาว #หญ้า #ไร #ผลไม้ #ไม้ดอก #ข้าว #ข้าวโพด #ลำไย #มะม่วง #ข้าวโพด #มันสำปะหลัง #มันเทศ #กัญชา #กระท่อม #ทุเรียน #พริก #มะเขือ #มะนาว #ถั่วฝักยาว #ถั่วพลู #ถั่วเขียว #ถั่วเหลือง #ถั่วดำ #กล้วย #กล้วยหอม

อ้างอิง

  • https://hellokhunmor.com
  • https://today.line.me/th
  • https://www.winnews.tv/news/947

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *